บทความที่ได้รับความนิยม

วิทยาลัยที่น่าอยู่น่ามาศึกษาหาความรู้

เเกดดเกดเปดปแอ

วันอาทิตย์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ทฤษฎีของจอห์น ดิวอี้

1.2 เทคโนโลยีการศึกษาของดิวอี้
เทคโนโลยีการศึกษาของ จอห์น ดิวอี้ มีความสำคัญต่อระบบการศึกษาของสหรัฐ
อเมริกาเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แนวความคิดในการแก้ปัญหา (Problem-Solving) ดิวอี้ได้ศึกษาเรื่องนี้กับ ฮอลล์ ที่มหาวิทยาลัย จอห์น ฮอบกิน ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่เขาได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิต หลังจากที่ดิวอี้ จบจากมหาวิทยาลัยแห่งนี้ เขาได้สอนที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน มินิโซตา และชิคาโก จากนั้นเขาได้ไปสอนที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบียในปี ค.ศ.1904 แนวคิดทางเทคโนโลยีการศึกษาของดิวอี้ ตรงกับข้ามกับ ธอร์นไดค์ ดิวอี้ เชื่อว่าสิ่งเร้ากับปฏิกิริยาตอบสนอง ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ชัดเจน แต่มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด ดิวอี้ ได้โจมตีพวกมีความเชื่อในเรื่องมโนภาพแบบสะท้อนกลับ (The Reflect Arc Concept) ยืนยันการเรียนรู้ที่ได้รวมผลกระทบระหว่างผู้เรียนกับสิ่งแวดล้อมของผู้เรียนเข้าไว้ด้วยกัน  จากการทดลองของดิวอี้ที่มีต่อเทคโนโลยีการศึกษานั้นเป็นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่ให้ผลคุ้มค่า คือวิธีการคิดแบบไตร่ตรอง (Reflective Method) หรือการพิจารณาอย่างมีวิจ
ารณญาณ เกี่ยวกับความเชื่อหรือแบบแผนของความรู้ที่เกิดขึ้น สาระของวิธีการแบบไตร่ตรองของดิวอี้ มีอยู่
ในหนังสือชื่อ How We Think ซึ่งได้กล่าวถึงการไตร่ตรองในฐานะที่เป็นความเคลื่อนไหวทางจิตวิทยา โดยมีขั้นตอนดังนี้
1.2.1 ผู้เรียนต้องเรียนรู้จากปัญหา เขาจะต้องรู้จุดมุ่งหมายบางอย่าง และรู้สึกถูกกีดกันจากอุปสรรคที่สอดแทรกเข้ามา ดังนั้นเขาจำเป็นต้องทำให้มีความต่อเนื่องกัน
1.2.2 หลังจากได้พบกับปัญหา หรือรู้สึกว่าข้อมูลที่รู้มาขัดแย้งกัน โดยกำหนดสมมติฐานขึ้นเพื่อกำหนดคำตอบลองดู ซึ่งอาจจะเป็นการแก้ปัญหาที่ใช้ได้
1.2.3 บางครั้งสถานการณ์ที่เป็นปัญหาได้รับการวิเคราะห์และสังเกต เพื่อนำประสบการณ์ที่มีอยู่มาใช้เพื่อทดสอบสมมติฐานที่ตั้งขึ้น ตามขั้นตอนต่าง ๆ ที่นำมาให้ต่อเนื่องกันเป็นกิจกรรมของผู้เรียน หรือจุดมุ่งหมายของผู้เรียน จะต้องได้รับการทำให้เห็นได้ชัดเจนเพียงพอ
1.2.4 ผู้เรียนต้องทดสอบสมมติฐานต่าง ๆ ที่ตั้งขึ้น และพิสูจน์ผลที่ได้รับจากสมมติฐานนั้น
1.2.5 สุดท้ายผู้เรียนจะต้องสรุปให้ได้ ซึ่งจะรวมเอาทั้งการยอมรับ การขยายหรือการปฏิเสธสมมติฐานหรือมันอาจจะนำไปสู่ข้อสรุปที่ว่าหลักฐานที่เชื่อถือได้ ไม่อาจทำให้มีพื้นฐานสำหรับการกระทำ หรือไม่อาจจะทำให้ได้ข้อความที่ยืนยันได้แน่นอน
1.3 เทคโนโลยีการศึกษามอนเตสซอรี
 Maria Montessori (1870-1952) นักการศึกษาสตรีชาวอิตาลีผู้บุกเบิกเกี่ยวกับ
การสอนแบบ Nourishing สำเร็จการศึกษาทางการแพทย์จากมหาวิทยาลัยโรม แต่เพราะความสนใจ
ในเรื่องพัฒนาการและกิจกรรมของเด็ก ทำให้เธอหันเหชีวิตจากงานด้านการแพทย์เข้ามาสู่การศึกษา
เธอไปเป็นครูระหว่างปี ค.ศ.1899-1901ในช่วงนี้เธอได้ปรับปรุงเทคนิคการสอนทางจิตของเด็กที่พิการเพราะขาดแคลนอาหาร โดยอาศัยพื้นฐานทางวิธีการและอุปกรณ์ของ Seguin  (เป็นนักเทคโนโลยี
ทางการศึกษาชาวฝรั่งเศล ที่ศึกษาเกี่ยวกับเด็กพิการทางจิต เช่น Idiot เป็นต้น มีชีวิตอยู่ระหว่าง
ปี ค.ศ. 1812-1880) มอนเตสซอรีเขียนหนังสือ "Scientific Pedagogy as Applied to Child Education in the Children's Houses" ออกพิมพ์เผยแพร่ในปี ค.ศ.1909 ปรากฏว่าได้รับความสนใจจากประชาชนทั่วไป นักการศึกษาสำคัญ ๆ จากทั่วโลกไปสังเกตวิธีสอนที่โรงเรียนของเธอเป็นจำนวนมาก แนวคิดพื้นฐานของวิธีสอนแบบมอนเตสซอรี เทคโนโลยีการศึกษาและการสอนของมอนเตสเซอรี มีลักษณะที่สำคัญอยู่ 3 ประการ คือ  การจัดกิจกรรมของโรงเรียนให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน  การแบ่งกลุ่มเด็กให้มีโอกาสทำงานได้อย่างอิสระโดยไม่ขึ้นอยู่กับครูผู้สอนฝ่ายเดียว และเน้นในเรื่องลักษณะการแบ่งแยกระบบประสาทสัมผัส  โดยมีหลักการพื้นฐานของวิธีการสอนแบบมอนเตสซอรี มีอยู่ 2 ประการคือ  ยอมรับในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล และส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ทำงานอย่างมีอิสระ โดยไม่คำนึงถึงแต่เพียงเฉพาะในเรื่องของสภาวะทางกายภาพในห้องเรียนและบรรยากาศทางจิตวิทยาเท่านั้น  ต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน สื่อการสอนและธรรมชาติของกระบวนการสอนด้วย


goto google

วันเสาร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

เทคโนโลยีการศึกษาของดิวอี้

1.2 เทคโนโลยีการศึกษาของดิวอี้
เทคโนโลยีการศึกษาของ จอห์น ดิวอี้ มีความสำคัญต่อระบบการศึกษาของสหรัฐ
อเมริกาเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แนวความคิดในการแก้ปัญหา (Problem-Solving) ดิวอี้ได้ศึกษาเรื่องนี้กับ ฮอลล์ ที่มหาวิทยาลัย จอห์น ฮอบกิน ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่เขาได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิต หลังจากที่ดิวอี้ จบจากมหาวิทยาลัยแห่งนี้ เขาได้สอนที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน มินิโซตา และชิคาโก จากนั้นเขาได้ไปสอนที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบียในปี ค.ศ.1904 แนวคิดทางเทคโนโลยีการศึกษาของดิวอี้ ตรงกับข้ามกับ ธอร์นไดค์ ดิวอี้ เชื่อว่าสิ่งเร้ากับปฏิกิริยาตอบสนอง ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ชัดเจน แต่มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด ดิวอี้ ได้โจมตีพวกมีความเชื่อในเรื่องมโนภาพแบบสะท้อนกลับ (The Reflect Arc Concept) ยืนยันการเรียนรู้ที่ได้รวมผลกระทบระหว่างผู้เรียนกับสิ่งแวดล้อมของผู้เรียนเข้าไว้ด้วยกัน  จากการทดลองของดิวอี้ที่มีต่อเทคโนโลยีการศึกษานั้นเป็นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่ให้ผลคุ้มค่า คือวิธีการคิดแบบไตร่ตรอง (Reflective Method) หรือการพิจารณาอย่างมีวิจารณญาณ เกี่ยวกับความเชื่อหรือแบบแผนของความรู้ที่เกิดขึ้น สาระของวิธีการแบบไตร่ตรองของดิวอี้ มีอยู่
ในหนังสือชื่อ How We Think ซึ่งได้กล่าวถึงการไตร่ตรองในฐานะที่เป็นความเคลื่อนไหวทางจิตวิทยา โดยมีขั้นตอนดังนี้
1.2.1 ผู้เรียนต้องเรียนรู้จากปัญหา เขาจะต้องรู้จุดมุ่งหมายบางอย่าง และรู้สึกถูกกีดกันจากอุปสรรคที่สอดแทรกเข้ามา ดังนั้นเขาจำเป็นต้องทำให้มีความต่อเนื่องกัน
1.2.2 หลังจากได้พบกับปัญหา หรือรู้สึกว่าข้อมูลที่รู้มาขัดแย้งกัน โดยกำหนดสมมติฐานขึ้นเพื่อกำหนดคำตอบลองดู ซึ่งอาจจะเป็นการแก้ปัญหาที่ใช้ได้
1.2.3 บางครั้งสถานการณ์ที่เป็นปัญหาได้รับการวิเคราะห์และสังเกต เพื่อนำประสบการณ์ที่มีอยู่มาใช้เพื่อทดสอบสมมติฐานที่ตั้งขึ้น ตามขั้นตอนต่าง ๆ ที่นำมาให้ต่อเนื่องกันเป็นกิจกรรมของผู้เรียน หรือจุดมุ่งหมายของผู้เรียน จะต้องได้รับการทำให้เห็นได้ชัดเจนเพียงพอ
1.2.4 ผู้เรียนต้องทดสอบสมมติฐานต่าง ๆ ที่ตั้งขึ้น และพิสูจน์ผลที่ได้รับจากสมมติฐานนั้น
1.2.5 สุดท้ายผู้เรียนจะต้องสรุปให้ได้ ซึ่งจะรวมเอาทั้งการยอมรับ การขยายหรือการปฏิเสธสมมติฐานหรือมันอาจจะนำไปสู่ข้อสรุปที่ว่าหลักฐานที่เชื่อถือได้ ไม่อาจทำให้มีพื้นฐานสำหรับการกระทำ หรือไม่อาจจะทำให้ได้ข้อความที่ยืนยันได้แน่นอน
1.3 เทคโนโลยีการศึกษามอนเตสซอรี
 Maria Montessori (1870-1952) นักการศึกษาสตรีชาวอิตาลีผู้บุกเบิกเกี่ยวกับ
การสอนแบบ Nourishing สำเร็จการศึกษาทางการแพทย์จากมหาวิทยาลัยโรม แต่เพราะความสนใจ
ในเรื่องพัฒนาการและกิจกรรมของเด็ก ทำให้เธอหันเหชีวิตจากงานด้านการแพทย์เข้ามาสู่การศึกษา
เธอไปเป็นครูระหว่างปี ค.ศ.1899-1901ในช่วงนี้เธอได้ปรับปรุงเทคนิคการสอนทางจิตของเด็กที่พิการเพราะขาดแคลนอาหาร โดยอาศัยพื้นฐานทางวิธีการและอุปกรณ์ของ Seguin  (เป็นนักเทคโนโลยี
ทางการศึกษาชาวฝรั่งเศล ที่ศึกษาเกี่ยวกับเด็กพิการทางจิต เช่น Idiot เป็นต้น มีชีวิตอยู่ระหว่าง
ปี ค.ศ. 1812-1880) มอนเตสซอรีเขียนหนังสือ "Scientific Pedagogy as Applied to Child Education in the Children's Houses" ออกพิมพ์เผยแพร่ในปี ค.ศ.1909 ปรากฏว่าได้รับความสนใจจากประชาชนทั่วไป นักการศึกษาสำคัญ ๆ จากทั่วโลกไปสังเกตวิธีสอนที่โรงเรียนของเธอเป็นจำนวนมาก แนวคิดพื้นฐานของวิธีสอนแบบมอนเตสซอรี เทคโนโลยีการศึกษาและการสอนของมอนเตสเซอรี มีลักษณะที่สำคัญอยู่ 3 ประการ คือ  การจัดกิจกรรมของโรงเรียนให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน  การแบ่งกลุ่มเด็กให้มีโอกาสทำงานได้อย่างอิสระโดยไม่ขึ้นอยู่กับครูผู้สอนฝ่ายเดียว และเน้นในเรื่องลักษณะการแบ่งแยกระบบประสาทสัมผัส  โดยมีหลักการพื้นฐานของวิธีการสอนแบบมอนเตสซอรี มีอยู่ 2 ประการคือ  ยอมรับในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล และส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ทำงานอย่างมีอิสระ โดยไม่คำนึงถึงแต่เพียงเฉพาะในเรื่องของสภาวะทางกายภาพในห้องเรียนและบรรยากาศทางจิตวิทยาเท่านั้น  ต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน สื่อการสอนและธรรมชาติของกระบวนการสอนด้วย

http://www.google.co.th/e       

การส่ง Mail ให้เพื่อน

Dear  น้องแวว
คืนนี้พาแฟนกับลูกๆ ไปลอยกระทงที่ไหนกันจ๊ะ  อิจฉาจังเลยไปกันทั้งครอบครัวเที่ยวกันให้สนุกนะจ้ะ